สถิติอุบัติเหตุโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่สำคัญ

10 ก.พ. 2555


 

สถิติอุบัติเหตุโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่สำคัญ

 

 

ปี

พ.ศ.

สถานที่

เหตุการณ์

จำนวนผู้เสียชีวิต

จำนวนผู้บาดเจ็บ

ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

ระดับ

2495

NRX (40MWt)

แคนาดา

เชื้อเพลิงหลอมละลาย

-

-

-

4

2498

EBR-1 (0.2 MW)

สหรัฐอเมริกา

เชื้อเพลิงหลอมละลาย เกิดการเปรอะเปื้อนรังสีภายในโรงไฟฟ้า

-

-

-

4

2504

SL-1 (3 MWt)

สหรัฐอเมริกา

เชื้อเพลิงหลอมละลาย

3

-

มีการเปรอะเปื้อนทางรังสีเล็กน้อย

5

2512

Femi-1 (66 MW)

สหรัฐอเมริกา

เชื้อเพลิงหลอมละลาย ต้องใช้เวลาซ่อมแซม 4 ปี

-

-

-

4

Lucens (7.5 MW)

สวิสเซอร์แลนด์

ท่อน้ำระบายความร้อนชำรุด ทำให้เชื้อเพลิงหลอมละลาย และเกิดการเปรอะเปื้อนทางรังสีภายในโรงไฟฟ้า

-

-

-

4

2522

Three-Mile

Island-2 (880 MW)

สหรัฐอเมริกา

สูญเสียน้ำระบายความร้อน ทำให้เชื้อเพลิงทั้งหมดหลอมละลาย

-

-

เกิดการรั่วของสารกัมมันตรังสีเล็กน้อยต่ำกว่ามาตรฐานนานาชาติ

5

2523

Saint-Laurent

A2 (450 MW)

ฝรั่งเศส

เชื้อเพลิงหลอมละลาย ต้องหยุดเดินเครื่อง 2.5 ปี

-

-

เกิดการรั่วของสารกัมมันตรังสีเล็กน้อยต่ำกว่ามาตรฐานนานาชาติ

4

2529

Chernobyl-4

(950 MW) ยูเครน

เพลิงไหม้หลังจากการระเบิดของไอน้ำ

31

203

อพยพประชาชนในรัศมี 30 กม. และสารกัมมันตรังสีแพร่กระจายไปทั่วยุโรป

7

ที่มา: สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

 

 

สถิติเหตุขัดข้องโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่สำคัญ

 

 

ปี พ.ศ.

สถานที่

เหตุการณ์

จำนวนผู้เสียชีวิต

จำนวนผู้บาดเจ็บ

ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

ระดับ

2518

Browns Ferry

(2 x 1,080 MW)

สหรัฐอเมริกา

เกิดเพลิงไหม้สายเคเบิล ต้องหยุดเดินเครื่อง 17 เดือน

-

-

-

3

2532

Vandellos

(950 MW) สเปน

ระบบความปลอดภัยชำรุด

-

-

-

3

Grave lines

(900 MW) ฝรั่งเศส

ระบบวาล์วนิรภัยบกพร่อง

-

-

-

3

2533

Creys Malyille

(1,200 MW) ฝรั่งเศส

เกิดความเปรอะเปื้อนของโซเดียม ในระบบปฐมภูมิ

-

-

-

2

2534

Mihama-2

(500 MW) ญี่ปุ่น

ท่อที่ใช้ผลิตไอน้ำแตก ทำให้เครื่องหยุดเดินโดยอัตโนมัติ

-

-

-

2

Belleville

(1,300 MW) ฝรั่งเศส

ระบบเติมสารละลายโบรอนเกิดขัดข้อง

-

-

-

2

Chinon

ฝรั่งเศส

เกิดความผิดปกติของอุปกรณ์ไม่ถูกต้องตามข้อกำหนดทางเทคนิค

-

-

-

1

Tricastin

(900 MW) ฝรั่งเศส

ไฟฟ้าสำรองขัดข้อง

-

-

-

1

2535

Leningrad

(1,000 MW) รัสเซีย

ท่อบรรจุแท่งเชื้อเพลิงเกิดความเสียหาย

-

-

เกิดการรั่วของสารกัมมันตรังสีเล็กน้อยต่ำกว่ามาตรฐานนานาชาติ

3

 

Fukushima

(1,100) ญี่ปุ่น

น้ำในเครื่องปฏิกรณ์ลดลงจนระบบความปลอดภัยอัตโนมัติต้องจ่ายน้ำเข้าไปในเครื่อง

-

-

ไม่มีการแพร่กระจายของสารรังสีที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

2

2538

มอนจู

ญี่ปุ่น

การรั่วของโซเดียมเหลวที่ใช้ในระบบระบายความร้อนทุติยภูมิ

-

-

-

2

2545

Davis Besse

สหรัฐอเมริกา

เกิดภาวะผุกร่อนอย่างรุนแรง (Severe Corosion)

-

-

-

2

2546

Paks

ฮังการี

แท่งเชื้อเพลิงเกิดความเสียหาย

-

-

-

3

ที่มา: สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

 

 

ร่วมเป็นแฟนเพจเฟสบุ๊คกับ TCIJ ออนไลน์
www.facebook.com/tcijthai

ป้ายคำ
Like this article:
Social share: