สถิติการใช้สื่อของประชาชน

2 ก.พ. 2558 | อ่านแล้ว 2796 ครั้ง


สื่อมวลชนด้านวิทยุ

ในประชากรที่มีอายุ 6 ปขึ้นไป จํานวน 60.2 ลานคน พบวา มีจํานวนผูฟงวิทยุประมาณ 18.7 ลานคน หรือคิดเปน รอยละ 31.1 โดยผูที่อาศัยในเขตเทศบาลมีอัตราการฟงวิทยุสูงกวาผูที่อาศัยนอกเขตเทศบาลเล็กนอยคือรอยละ 31.7 และรอยละ 30.8 ตามลําดับ และพบวาประชาชนในภาคเหนือ มีอัตราการฟงวิทยุสูงสุดคือรอยละ 38.2 รองลงมา คือกรุงเทพมหานครรอยละ 35.6 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใตมีอัตราการฟงวิทยุที่ใกลเคียงกัน คือรอยละ 30.4 สวนภาคกลางมีอัตราการฟงวิทยุต่ําสุดคือรอยละ 25.2

เมื่อศึกษาถึงพฤติกรรมการฟงวิทยุของประชากรไทยอายุตั้งแต 6 ปขึ้นไป ในชวง 20 ปที่ผานมา (2532-2551) พบวา มีแนวโนมลดลงจากรอยละ 56.7 ในป 2532 เปนรอยละ 31.1 ในป 2551 และพบวากลุมวัยเยาวชน (15-24 ป) มีอัตราการฟงวิทยุสูงสุด สวนกลุมวัยเด็ก ( 6-14 ป) มีอัตราการฟงวิทยุต่ำสุด

ประเภทรายการวิทยุที่ฟงเป็นประจำ

สําหรับประเภทรายการวิทยุที่ประชาชนฟงสูงสุด คือรายการประเภทบันเทิงคิดเปนรอยละ 64.1 รองลงมาคือขาวรอยละ 32.9 สารคดีหรือความรูทั่วไป รอยละ 2.5 สวนรายการความคิดเห็น/วิเคราะหรายการวิทยุเพื่อการศึกษาและธุรกิจ/โฆษณา พบรอยละ 0.5

เมื่อพิจารณาตามกลุมวัย พบวา ประเภทรายการที่ฟงผันแปรตามกลุมวัย กลาวคือ การฟงรายการบันเทิงจะพบมากที่สุดในกลุมวัยเด็กคือรอยละ 91.4 และมีอัตราลดลงตามกลุมอายุที่เพิ่มขึ้น สวนการฟงรายการขาว พบในกลุมวัยสูงอายุมากที่สุดคือรอยละ 65.2 แลวลดลงเมื่อกลุมอายุนอยลง

ช่วงวันและเวลาที่ฟงวิทยุเป็นประจำ

ในจํานวนผูที่ฟงวิทยุประมาณ 18.7 ลานคน พบวา มากกวารอยละ 98.0 ฟงวิทยุเกือบทุกวัน ซึ่งเมื่อจําแนกตามกลุมวัย พบวา กลุมวัยเด็ก ฟงวิทยุในชวงเวลา 16.01-20.00 น. มากที่สุด กลุมวัยเยาวชน ฟงในชวงเวลา 16.01-20.00 น.ในวันจันทร-วันศุกรและ 10.01-13.00 น. ในวันเสาร-วันอาทิตยมากที่สุด สวนกลุมวัยแรงงานกับกลุมวัยสูงอายุฟงในชวงเวลา 04.01-10.00 น. มากที่สุด

สื่อมวลชนด้านโทรทัศน์

จากผูชมโทรทัศนจํานวน 57.0 ลานคนหรือคิดเปนรอยละ 94.6 พบวาผูที่อาศัยในเขตเทศบาลจะมีอัตราการชมโทรทัศนสูงกวาผูที่อาศัยนอกเขตเทศบาลคือรอยละ 95.7 และรอยละ 94.2 ตามลําดับ และทุกภาคมีการไดรับชมโทรทัศนมากวารอยละ 93.0 ขึ้นไป โดยภาคกลางมีอัตราการชมโทรทัศนสูงสุด คือ รอยละ 95.6 รองลงมาคือกรุงเทพมหานคร รอยละ 95.4 ภาคตะวันออกเฉียง-เหนือ รอยละ 94.4 สวนภาคเหนือกับภาคใตมีอัตราการชมโทรทัศนที่ใกลเคียงกัน คือรอยละ 93.6

ผลสํารวจการใชสื่อโทรทัศนในชวง 20 ป (2532-2551) พบวา พฤติกรรมการชมโทรทัศนของประชากรไทยอายุ 6 ปขึ้นไป มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากรอยละ 80.4 ในป 2532 มาเปนรอยละ 94.5 ในป 2546 และเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยในป 2551 เปนรอยละ 94.6

สําหรับพฤติกรรมการชมโทรทัศนในป 2551 พบวา กลุมวัยเด็กยังเปนกลุมวัยที่มีอัตราการชมสูงสุดคือรอยละ 97.0 และกลุมวัยสูงอายุจะมีอัตราการชมที่ต่ำสุดเชนเดิมคือพบรอยละ 84.6

ประเภทรายการโทรทัศนที่ชมเปนประจํา

ประเภทรายการโทรทัศนที่ประชาชนชมมากที่สุดคือ รายการประเภทบันเทิง ซึ่งคิดเปนรอยละ 57.7 รองลงมาคือขาวรอยละ 40.0 สารคดีหรือความรูทั่วไปรอยละ 2.0 สวนรายการความคิดเห็น/วิเคราะห รายการเพื่อการศึกษาและธุรกิจ/ฆษณา พบรอยละ 0.3

สําหรับประเภทรายการที่ชม พบวา มีความผันแปรตามกลุมวัย เชนเดียวกับการฟงวิทยุกลาวคือ การชมรายการขาวจะพบมากที่สุดในกลุมวัยสูงอายุคือรอยละ 67.3 แลวลดลงตามกลุมอายุที่นอยลง สวนการชมรายการบันเทิง จะพบมากที่สุดในกลุมวัยเด็ก คือ รอยละ 95.2 แลวจะลดลงตามกลุมอายุที่เพิ่มขึ้น

ชวงวันและเวลาที่ชมโทรทัศนเปนประจํา

จากจํานวนผูที่ชมโทรทัศนประมาณ 57.0 ลานคน พบวา เกือบทั้งหมดชมโทรทัศนในวันจันทร – วันศุกร และวันเสาร-วันอาทิตยสําหรับชวงเวลาที่มีการับชมมากที่สุดคือเวลา 16.01–20.00 น. ทุกกลุมวัยยกเวนในกลุมวัยเด็ก ที่พบวาในวันเสาร-วันอาทิตยจะชมโทรทัศนในชวงเวลา 04.01-10.00 น. เปนประจํามากที่สุด

 

สรุปและขอเสนอแนะ

จากการสํารวจสื่อมวลชนครั้งนี้พบวาผูที่มีอายุ 6 ปขึ้นไป มีอัตราการฟงวิทยุที่ลดลงและอัตราการชมโทรทัศนที่เพิ่มขึ้นเล็กนอย สําหรับประเภทรายการที่สนใจทั้งสื่อวิทยุและสื่อโทรทัศนพบวายังเปนรายการบันเทิงเชนเดิมและมีแนวโนมที่เพิ่มขึ้น สวนรายการขาวกลับลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับการสํารวจครั้งที่แลวในป 2546 ทั้งนี้อาจเปนเพราะเนื้อหาของขาว ทําใหประชาชนเริ่มรูสึกเบื่อหนาย ดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ควรมีการปรับเปลี่ยนเพื่อใหประชาชนสนใจขอมูลขาวสารเพิ่มขึ้น รวมทั้งการกําหนดผังเวลาในการนําเสนอใหเหมาะกับเนื้อหาการมีมาตรการดูแล ปองกัน และควบคุมรายการประเภทบันเทิงใหนําเสนอเนื้อหาที่เหมาะสมและสงเสริมวัฒนธรรมอันดีงามของสังคมไทยใหคงอยูตอไป

อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง เปิดดัชนีสื่อไทย 2557: คำถามความเป็นมืออาชีพกับปม ‘ดีเอ็นเอเซ็นเซอร์ตัวเอง’

ที่มา

สำนักงานสถิติแห่งชาติ

ขอบคุณรูปภาพจาก http://www.oknation.net

ร่วมเป็นแฟนเพจเฟสบุ๊คกับ TCIJ ออนไลน์
www.facebook.com/tcijthai

ป้ายคำ
Like this article:
Social share: